
ในการเดินทางตรวจเยี่ยมพื้นจังหวัดนราธิวาส เมื่อวันที่ ๒๕ กรกฎาคม นายกรัฐมนตรีพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้ประกาศโครงการพัฒนาสามเหลี่ยมเศรษฐกิจ จังหวัดชายแดนภาคใต้ บนแนวนโยบายที่เน้นการพัฒนาเศรษฐกิจแบบมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน และเชื่อมโยงเศรษฐกิจของ จชต.เข้ากับภูมิภาคอาเซียนบนคาบสมุทรมลายู ซึ่งประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวมุสลิม ที่มีจุดร่วมทางศาสนา ภาษา และศิลปะวัฒนธรรม กับประชากรส่วนใหญ่ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ หากโครงการดังกล่าว ถูกผลักดันให้เป็นตามแผนที่กำหนด ย่อมก่อให้เกิดผลดี ในทุก...
..อ่านต่อหัวใจสำคัญของการพัฒนาประเทศ ก็คือ การพัฒนาคน หัวใจของการพัฒนาคน ก็คือ การให้การศึกษา ณ ปัจจุบัน การให้การศึกษา จำเป็นจะต้องใช้การบูรณาการการศึกษาในหลากหลายวิธีการ โดยต้องเชื่อมโยงตั้งแต่ระดับยุทธศาสตร์ชาติ ไปจนถึงยุทธศาสตร์พื้นที่ ที่ต้องสอดคล้องกับบริบททางด้านความเชื่อ ความคิด และวิถีชีวิต วัฒนธรรมประเพณี อันเป็นอัตลักษณ์ของแต่ละพื้นที่ การพัฒนาการศึกษา ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ก็เป็นความท้าทายสำคัญของรัฐบาล รัฐบาลและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งในระด...
..อ่านต่อการเดินทางตรวจเยี่ยมพื้นที่จังหวัดนราธิวาสของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เมื่อวันที่ ๒๕ กรกฎาคม ที่ผ่านมา เป็นการส่งสัญญานต่อประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ว่า รัฐบาลชุดนี้ มีความมุ่งมั่นเอาจริงเอาจังกับการสร้างสันติสุขและเดินหน้าพัฒนาเศรษฐกิจ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ทั้งนี้เห็นได้จากผู้ร่วมคณะเดินทางของนายกรัฐมนตรี มีทั้งพลเอกประวิตร วงษ์สุวรรณ รองนายกรัฐมนตรีด้านความมั่นคง และนายสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ รองนายกรัฐมนตรีด้านเศรษฐกิจ “การลงพื้นที่มาครั้งน...
..อ่านต่อเป็นที่ทราบกันดีว่า วิถีชีวิต และวัฒนธรรม ในแต่ละภาคของประเทศไทย ล้วนแล้วแต่มีความงดงามในแบบที่เป็นอัตลักษณ์ของตนเอง...อย่างไรก็ตามภาพความงดงาม สร้างสรรค์ ของวิถีชีวิต และวัฒนธรรม ไม่ค่อยได้มีโอกาสถูกนำเสนอสู่สาธารณชนมากนัก โดยเฉพาะความงดงาม ของวิถีชีวิต และวัฒนธรรมของพี่น้องประชาชน ในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้.....แต่ในทางตรงกันข้ามกลับถูกกลบทับด้วยภาพความรุนแรง ที่ถูกนำเสนอผ่านสื่อมวลชน จนทำให้พี่น้องประชาชนในภาคอื่นๆ มองว่า ดินแดนแห่ง 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นดินแดนที...
..อ่านต่อเมื่อพูดถึงคำว่า “ปั่น” แทบทุกคนจะต้องนึกถึงการ “ปั่นจักรยาน” เพราะคนเราทุกคน ตั้งแต่เป็นเด็กตัวเล็ก ๆ จนกระทั่งเป็นผู้ใหญ่ ไม่มากก็น้อย จะต้องมีส่วนเข้าไปเกี่ยวข้องกับการ “ปั่นจักรยาน” ในวัยเด็ก การ “ปั่นจักรยาน” เป็นเพียงเรื่องสนุกๆ แบบเด็กๆ แต่สำหรับผู้ใหญ่แล้ว ก็ค่อนออกไปในทาง “กิจกรรมเพื่อสุขภาพ” ....หากมองข้ามมิติของ “บุคคล” มาสู่มิติของ “สังคม” การ “ปั่นจักรยาน&rd...
..อ่านต่อภาพเฮลิคอปเตอร์ บินหิ้วถังน้ำขนาดใหญ่ดับไฟป่าพรุ ที่ อำเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาสในช่วงต้นเดือนพฤษภาคม แสดงให้เห็นถึงภารกิจของทหารในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ต้องทำหน้าที่ช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ให้พี่น้องประชาชน ในภารกิจบรรเทาภัยพิบัติ ซึ่งพลเอกธีรชัย นาควานิช ผู้บัญชาการทหารบก ได้สั่งการให้นำเฮลิคอปเตอร์ใช้งานทั่วไปแบบ17(ฮ.ท.MI-17)รุ่นV5 จากกองบินสนับสนุนทั่วไป ศูนย์การบินทหารบก มาใช้งานในการดับไฟป่าเพื่อเสริมการปฏิบัติการดับไฟป่าควบคู่ไปกับเฮลิคอปเตอร์แบบเบลล์ 212 หน่วยบินอโณท...
..อ่านต่อในทุกๆ ปี อิสลามิกชนจะร่วมใจปฏิบัติศาสนกิจถือศีลอดในเดือนรอมฎอน เพื่อทดสอบศรัทธาอันแรงกล้าต่อองค์พระผู้เป็นเจ้าที่ประทานบัญญัติแก่มวลมนุษย์ ให้มีความอดทนอดกลั้น มีจิตใจหนักแน่น ยึดมั่นต่อการประพฤติปฏิบัติที่ดีงาม ไม่ย่อท้อกับความยากลำบาก ตลอดช่วงเดือนรอมฎอนซึ่งกินเวลา ๒๙ – ๓๐ วัน หลังดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้า ชาวมุสลิมจะปฏิบัติกศาสนกิจเพื่ออัลเลาะห์ ด้วยการอดอาหาร งดเว้นเครื่องดื่ม พร้อมทั้งงดเว้นจากการร่วมประเวณี และต้องเข้มงวดระมัดระวังตนเองไม่ให้ยุ่งเกี่ยวกั...
..อ่านต่อหากนับจาก ปี 2547 จนถึง ปัจจุบัน จำนวนเหตุร้ายรายวันที่เกิดขึ้นในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ปัตตานี ยะลา นราธิวาส และ สงขลา) น่าจะมีจำนวนนับหมื่นเหตุการณ์แล้ว เหตุการณ์เหล่านี้ถือได้ว่าเป็นเครื่องมือหลักในหลายๆ เครื่องมือของกลุ่มผู้ก่อความไม่สงบ ที่ถูกนำมาใช้ในการบรรลุผลลัพธ์ (Outcome) หรือ สิ่งที่กลุ่มผู้ก่อความไม่สงบ ต้องการให้เกิด ทั้งในมิติของกายกาพ (Physical Dimension) และการรับรู้ (Awareness Dimension) ในระดับต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นในระดับพื้นที่ (Area Outcome) ระดับประเทศ (National Outcome...
..อ่านต่อจากเดือนมกราคม 2547 จนถึงวันนี้ ก็เป็นเวลากว่า 12 ปี แล้ว ที่สถานการณ์การก่อความไม่สงบในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (3 จชต.) ยังคงดำรงอยู่ และนำมาซึ่งความเสียหายต่อชีวิต และทรัพย์สินทั้งในส่วนของประชาชนในพื้นที่ และเจ้าหน้าที่ และบุคลากรของรัฐ ไม่ว่าจะเป็นเจ้าหน้าที่หน่วยงานด้านความมั่นคง เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง และโดยเฉพาะอย่างเจ้าหน้าที่และบุคลากรทางการศึกษา อาทิเช่น ครู เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ถึงแม้สถานการณ์ความรุนแรงยังคงอยู่ แต่ภาพรวมของสถานการณ์ก็สะท้อนสัญญาณที่ดีขึ้น ใ...
..อ่านต่อที่มารูปภาพ: UN Photo/Eric Kanalsstein เป็นเวลามากกว่า 33 ปี ที่สหประชาชาติให้กับสำคัญในเรื่องการมีส่วนร่วมของสตรี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกระบวนการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสันติสุข และสันติภาพ อย่างไรก็ตาม จากผลการสำรวจของสหประชาชาติ พบว่า สตรียังมีส่วนร่วมน้อยมากในกระบวนการดังกล่าว ระดับการมีส่วนร่วมที่น้อยมาก สวนทางกับความพยายามทั้งในระดับโลก และในระดับภูมิภาค ที่จะผลักดันให้สตรีเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการสร้างสันติสุข และ สันติภาพ การที่สตรีมีโอกาสเข้าไปมีส่วนร่วมน้อยมากนั้น ส...
..อ่านต่อ